TODE

อาการ Long COVID

กลุ่มอาการ ภาวะลองโควิด (Long COVID) ตามนิยามของ WHO ในปี 2021 กล่าวไว้ว่า เป็นอาการผิดปกติที่เกิดขึ้นใหม่หรือต่อเนื่องภายหลังการการติดเชื้อไวรัสโคโรนา หรือโรคโควิด (COVID – 2019) อาการลองโควิดโดยส่วนใหญ่เริ่มขึ้นหลังจากที่ผู้ป่วยเริ่มฟื้นตัวจากการติดเชื้อโควิด 19 แบบรุนแรงเฉียบพลัน

ความสัมพันธ์กับอาการป่วยที่รุนแรงจากการติดเชื้อที่เกิดขึ้นก่อนหน้า ระยะเวลาของอาการส่วนมากตั้งแต่ 3 เดือน นับจากวันตรวจพบเชื้อ และมีอาการต่อเนื่องอย่างน้อย 2 เดือน และกลุ่มอาการมีความหลากหลายและกระทบกับหลายระบบในร่างกาย เช่น ระบบทางเดินหายใจ ระบบหัวใจและหลอดเลือด ระบบประสาท ระบบภูมิคุ้มกันและสุขภาพจิต โดยมักพบมีอาการภายหลังการติดเชื้อ 4-12 สัปดาห์

โดยอาการที่พบสามารถดีขึ้นหรือแย่ลงเมื่อเวลาผ่านไป และ/หรือมีการกลับเป็นซ้ำใหม่ได้ หวย online ลักษณะอาการลองโควิดที่พบบ่อย ได้แก่ อ่อนเพลีย หายใจลำบากหรือหอบเหนื่อย ไอ นอนไม่หลับ ปวดศีรษะ ผมร่วง เวียนศีรษะ เครียดหรือวิตกกังวล ความจำสั้น เจ็บหน้าอก ปวดเมื่อกล้ามเนื้อ ไม่ได้กลิ่นหรือรับรสได้ไม่ดี เป็นต้น

สำหรับศาสตร์การแพทย์ทางเลือกทั้งทางการแพทย์แผนไทยและแพทย์แผนจีนมีมุมมองต่อการฟื้นฟูสุขภาพในผู้ป่วยที่มีภาวะ Long COVID หลังการติดเชื้อจะทำให้สมดุลในร่างกายถูกกระทบ ดังนี้

  • แนวคิดทางการแพทย์แผนไทย คือ หลังจากร่างกายได้รับเชื้อโควิด-19 จะกระตุ้นให้เกิดอาการปิตตะกำเริบ(ธาตุไฟ) จากภาวะร่างกายที่มีความร้อนมากขึ้นทำให้รู้สึกครั่นเนื้อครั่นตัวร้อนในและมีไข้ แล้วส่งผลกระทบกับเสมหะ(ธาตุน้ำ) จึงมีเสมหะเพิ่มขึ้น ส่งผลให้เกิดอาการหวัด คัดจมูก น้ำมูกไหล และกระทบวาตะ(ธาตุลม) เป็นตัวสุดท้าย ทำให้มีอาการเหนื่อย หวยเด็ดงวดนี้ อ่อนเพลีย ปวดศีรษะ จมูกไม่ได้กลิ่น ลิ้นไม่รู้รส และเมื่อมีการเจ็บป่วยเป็นระยะเวลานานจะทำให้สมดุลธาตุในร่างกายถูกกระทบส่งผลให้เกิดอาการเจ็บป่วยเรื้อรัง
  • แนวคิดทางการแพทย์แผนจีน คือ สภาวะร่างกายที่เกิดการติดเชื้อแล้วกระตุ้นร่างกายจะสร้างเม็ดเลือดขาว ไปต่อสู้กับเชื้อโรคจึงทำให้เกิดการอักเสบภายในร่างกายหรือการรับประทายาฆ่าเชื้อไวรัสทำให้ร่างกายทำงานหนักขึ้น เนื่องจากกระทบการทำงานหลายๆ ระบบ รวมถึงระบบภูมิคุ้มกันด้วย

การฟื้นฟูสุขภาพด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทย มีดังนี้

  1. การใช้ยาสมุนไพรตามกลุ่มอาการ ได้แก่
  • อาการเกี่ยวกับระบบการไหลเวียนโลหิต อ่อนเพลีย วิงเวียน ปวดศีรษะ ใช้ตำรับยาหอม เช่น ยาหอมนวโกฐยาหอมเทพจิตร
  • อาการไข้ เจ็บคอ ท้องเสีย เช่น ยาฟ้าทะลายโจร
  • อาการครั่นเนื้อครั่นตัว รู้สึกร้อนตามร่างกาย เช่น ยาประสะจันทน์แดง ยาจันทลีลา ยาเขียวหอม
  • ไอ ระคายคอ มีเสมหะ เช่น ยาแก้ไอมะขามป้อม ยาประสะมะแว้ง ยาอำมฤควาที
  • อ่อนเพลีย บำรุงธาตุ เช่น ยาธาตุบรรจบ ยาตรีผลา
  • อาการปวดเมื่อยกล้ามเนื้อและข้อ อาการชา เช่น ยาเถาวัลย์เปรียง ยาสหัศธารา ยาหม่องไพล

  1. การสุมยา คือ การรักษาโดยการสูดไอน้ำจากสมุนไพรที่ผ่านการต้ม ความร้อนชื้นจากไอน้ำเป็นตัวพาน้ำมันหอมระเหยของสมุนไพรที่มีฤทธิ์ ในการช่วยขยายหลอดลมทำให้ทางเดินหายใจโล่งขึ้น และกลิ่นหอมของสมุนไพรจะช่วยผ่อนคลายความเครียด ความวิตกกังวลได้อีกด้วย เช่น หอมแดง มะกรูด ตะไคร้ กระชาย ขิง เป็นต้น
  2. ใช้หลักกายานามัย (HEALTHY BODY) ซึ่งเป็นการส่งเสริมสุขภาพทางกายที่ดี โดยการออกกำลังกาย
    ให้เหมาะสมกับวัยและสภาพร่างกายของแต่ละบุคคล หวยออกอะไร โดยใช้ท่าบริหารฤาษีดัดตนในการช่วยให้การไหลเวียนของเลือดดีขึ้น ส่งผลให้อาการปวดตึงกล้ามเนื้อลดลง และช่วยผ่อนคลายกล้ามเนื้อจากภาวะความเครียด

ตัวอย่างท่าบริหารฤาษีดัดตนที่ใช้ในการฟื้นฟูในภาวะ Long COVID เช่น ท่าแก้เสมหะในลำคอ

วิธีทำท่าบริหาร นั่งท่าขัดสมาธิยืดหลังตรงใช้มือขวาจับข้อเท้าซ้าย มือซ้ายวางไว้ที่หลังใบหูซ้ายข้างท้ายทอยและยกศอกซ้ายให้ตั้งฉากกับลำตัว หายใจเข้าลึกๆ พร้อมทั้งใช้มือซ้ายดันให้หน้าหันไปทางขวาให้มากที่สุดจนรู้สึกว่ากล้ามเนื้อคอตึง นิ่งค้างไว้ นับ 1-10 แล้วค่อยๆ หายใจออกผ่อนมือที่ดันไว้ลงพร้อมทั้งหันหน้ากลับตามเดิม นับเป็น 1 ครั้ง ให้ทำสลับข้าง โดยทำซ้ำ 4-5 ครั้ง

ประโยชน์ของท่าบริหาร ช่วยทำให้เสมหะที่โคนลิ้นไหลลงลำคอ จึงลดอาการเสมหะติดคอและบริหารกล้ามเนื้อแขน

จากทฤษฎีการแพทย์แผนไทยที่กล่าวว่าร่างกายของมนุษย์ประกอบด้วยธาตุทั้งสี่คือ ธาตุดิน ธาตุน้ำ ธาตุลม และธาตุไฟ เมื่อธาตุทั้งสี่ในร่างกายมีความสมดุลก็จะไม่เจ็บป่วย หากธาตุทั้งสี่ในร่างกายเสียสมดุล ก็จะเกิดความเจ็บป่วยหรือเกิดโรคขึ้น ดังนั้นการฟื้นฟูสุขภาพในมุมมองทางการแพทย์แผนไทยจึงเปรียบเสมือนการดูแลรักษาสมดุลของธาตุทั้งสี่ให้กลับมาเป็นปกติ และเสริมสร้างระบบภูมิคุ้มกันในร่างกายให้แข็งแรง

การฟื้นฟูสุขภาพด้วยศาสตร์การแพทย์แผนจีน มีดังนี้

แนวคิดทางการแพทย์แผนจีนเน้นรักษาที่คน ไม่ใช่รักษาที่โรค มีคำกล่าวว่า “การแพทย์สมัยใหม่รักษาโรค การแพทย์แผนจีนรักษาคน” การแพทย์แผนจีนให้ความสำคัญที่รักษาคนไข้เน้นที่ร่างกาย (คน) เป็นหลัก จะเสริมบำรุงพลังพื้นฐาน (เจิ้งซี่) หวยออนไลน์ lotto ทำให้การต่อสู้กับโรคดีขึ้นและการขับสิ่งก่อโรค (เสียซี่) แต่เป้าหมายการขจัดสิ่งก่อโรคก็เพื่อให้ร่างกายสามารถใช้กลไกศักยภาพของตนเองสู่การทำงานที่ปกติหรือสมดุล

ข้อมูลจากคัมภีร์หวงตี้เน่ยจิง ซึ่งเป็นหนังสือเล่มแรกของแพทย์แผนจีน ได้มีการกล่าวไว้ว่าการดูแลตนเองแบบ Preventionหรือการป้องกัน มี 3 กรณี ดังนี้

  • ยังไม่ป่วย แต่ต้องป้องกันก่อนเกิดโรค
  • เมื่อป่วยแล้ว ต้องรีบรักษาป้องกันไม่ให้โรครุนแรง
  • เมื่อหายป่วยแล้ว ต้องรีบฟื้นฟูป้องกันไม่ให้โรคกำเริบหรือกลับมาอีก

เมื่ออาการดีขึ้นบทบาทของยาก็ยิ่งน้อยลงตามลำดับ ดังนั้นในยามปกติการดูแลสุขภาพจึงให้ความสำคัญที่ใช้อาหารเป็นยาและการดูแลตนเองด้วยหลายหลากวิธี รวมถึงการดำเนินชีวิตตามวิถีทางธรรมชาติง่ายๆโดยสังเขป ดังนี้

  1. เสริมโภชนาการ ด้วยเมนูอาหารฟื้นฟูร่างกาย
    ผู้ป่วยควรหลีกเลี่ยงอาหารทอดๆ มันๆ หรือ อาหารย่อยยากในช่วงแรกเนื่องจากหลังจากเจ็บป่วย
    ม้ามและกระเพาะอาหารยังไม่แข็งแรง หากทานอาหารที่ย่อยยากจะทำให้ม้ามและกระเพาะอาหารฟื้นตัวยาก ลมปราณจะยิ่งติดขัดและทำให้โรคกำเริบได้ง่าย สามารถเลือกใช้สมุนไพร ได้แก่
  • ตั่งเซิน (党参) 10 กรัม
  • หวงฉี หรือ ปักคี้ (黄芪) 10 กรัม
  • ไป่เหอ หรือ แปะฮะ (百合) 20 กรัม
  • เหลียนจื่อ หรือ เม็ดบัว(莲子) 20 กรัม

นำสมุนไพรทั้งหมดมาปรุงเป็นน้ำซุป ช่วยบำรุงชี่ปอดและม้าม หรือใส่เนื้อสัตว์เพิ่ม เช่น กระดูกหมู
หากทำเป็นเครื่องดื่มที่มีรสชาติหวานสดชื่นชุ่มคอ ก็สามารถตุ๋นสมุนไพรร่วมกับน้ำตาลกรวด อาจเพิ่มลูกเดือย และเปลือกส้มเล็กน้อย เพื่อช่วยขับเสมหะสลายความชื้นด้วยก็ได้ สามารถรับประทานได้ 2-3 ครั้งต่อสัปดาห์ ทานได้ต่อเนื่องประมาณ 1 เดือน

  1. การออกกำลังกาย สามารถเลือกออกกำลังกายช่วยฝึกพลังแบบจีนโบราณ เช่น รำไทเก็ก รำชี่กง
    รำปาต้วนจิ่ง เป็นต้น สำหรับคนทั่วไปที่ไม่มีพื้นฐานแนะนำเลือกเป็นการฝึกปาต้วนจิ่ง เนื่องจากท่าง่ายและทำได้ทุกเพศทุกวัย เช่นท่า “双手托天理三焦” ท่าสองมือประครองแผ่นฟ้า หวยต่างประเทศ จะเป็นการเคลื่อนไหวแขนร่วมกับการขยับซี่โครงให้สูงขึ้น ขยายทรวงอก ยืดกระดูกสันหลัง ยืดกล้ามเนื้อหน้าท้องและประสานกับการหายใจ ซึ่งช่วยปรับสมดุลปอดและม้ามปรับการทำงานของระบบทางเดินหายใจและการทำงานของระบบย่อยอาหาร

3. การฝังเข็ม และการนวดทุยหนา การฝังเข็มเป็นการปรับสมดุลในร่างกาย เพราะภาวะลองโควิด ทำให้ร่างกายเกิดความชื้น หรือความร้อนสะสมในร่างกาย ทำให้ลมปราณหรือเลือดหมุนเวียนได้ไม่ดี จึงทำให้เกิดอาการ เช่น เวียนศีรษะ ปวดหัว นอนไม่หลับ อ่อนเพลีย หายใจไม่เต็มอิ่ม หรือภูมิคุ้มกันในร่างกายทำงานได้ไม่ดี ซึ่งจุดฝังเข็มรักษานั้นมีหลายจุดขึ้นกับอาการในผู้ป่วยแต่ละราย หวยออนไลน์666 ในทีนี้ขอยกตัวอย่างจุดฝังเข็มที่สามารถช่วยปรับสมดุลในร่างกายได้ เช่น

จุดชวี่ชือ(LI11) ที่ช่วยลดความร้อนในเส้นปราณปอด

จุดเฟิงหลง(ST40) ที่ช่วยขับและลดเสมหะในร่างกาย ซึ่งจุดพวกนี้สามารถฝังเข็มหรือรมยา ช่วยลดอาการข้างเคียงที่เกิดขึ้นได้ เป็นต้น

⭐คลิกเลย !! เพื่อสมัครสมาชิก⭐
⭐เว็บหวย บาทละ 900⭐

แทงหวยง่ายๆได้ที่เว็บเรา

สรุป : เว็บน้องใหม่มาแรง ปี 2023 ที่นี่ที่เดียว “TENG1”

TENG1LOTTO ของเราเปิดให้บริการ อ่านสปอร์ตแมน คาสิโนออนไลน์แบบครบวงจร รวมค่ายชั้นนำทั้ง คาสิโนออนไลน์, สล็อตออนไลน์, พนันบอล, หวยออนไลน์ และอื่นๆอีกมากมาย ต้องการเข้าเล่นเกมคาสิโนประเภทไหนแค่เข้าเล่น กับเราที่นี่ ก็เลือกได้ตามชอบเลย เป็นการลงทุนที่เชื่อถือได้แบบ 100%

ใส่ความเห็น

อีเมลของคุณจะไม่แสดงให้คนอื่นเห็น ช่องข้อมูลจำเป็นถูกทำเครื่องหมาย *